Month: พฤศจิกายน 2019

EF ภาค 3 เราควรพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร

EF ภาค 3 เราควรพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร
#alpha #EF3 #EF3footnote

บทความโดย นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

อารัมภบท EF ภาค 3

EFภาค3ตอนที่1/100
(หรืออีกชื่อหนึ่ง พ่อแม่และครูสมัยใหม่ควรพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร แล้วพรีทีนกับวัยรุ่นจะให้ทำอะไร)

EFภาค3ตอนที่2/100 
(หรืออีกชื่อหนึ่ง เราควรพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร)

เชิงอรรถ EF3 2/100

EFภาค3ตอนที่3/100
N Sulia ในหนังสือ Building Executive Function 2018 ได้แบ่ง EF เป็น 6 กลุ่ม

เชิงอรรถ EF3 3/100

ตอนที่4/100 ทักษะ EF ที่เด็กคนหนึ่งต้องมี

คำแปล โดยคุณ Arinee Cheewakriengkrai
1. ใส่ใจ/อยู่กับคนหรือกิจกรรมตรงหน้า
2-3. มีสมาธิ จดจ่อ
4. คิดก่อนทำ
5. รู้ว่าต้องทำอะไร เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
6. ชักชวนให้ผู้อื่นร่วมทำงาน
7. รู้จักกาละเทศะ
8. สามารถนำเสนอข้อมูลได้ทั้งด้วยกาเล่าเรื่องและการวาดให้เห็นภาพ
9. สามารถแยกความเหมือนและความแตกต่างได้
10. จดจำรายละเอียดได้ดี
11. สามารถทำงานหลายขั่นตอนได้
12. มีสมารถจำข้อมูลอย่างหนึ่ง ในขณะที่ต้องพิจารณาอีกเรื่องนึงได้
13.สามารถแยกเหตุและผลของสิ่งที่ทำลงไปได้
14. สามารถแยกแยะประเภทของข้อมูลได้
15. สามารถเปลี่ยนความสนใจจากเรื่องนึงไปอีกเรื่องนึงได้
16. สามารถเปลี่ยนมุมมองได้
17. สามารถมองเห็นสถานการณ์ในหลายๆมุม
18. เปิดใจรับฟังความเห็นคนอื่น
19. มีความคิดสร้างสรรค์
20. ยอมรับความผิดพลาด
21. สามารถพิจารณาหลายๆแนวคิดพร้อมกันได้
22. รู้จักกำหนดเป้าหมาย
23. สามารถบริหารจัดการเวลา
24. ทำงานให้บรรลุเป้าหมาย
25. สามารถจัดระเบียบงานและความคิดของตนเองได้
26. คาดการณ์ผลลัพธ์ที่จะเกิดจากการกระทำของตนเองในวันนี้ได้
27. สามารถตั้งสมมติฐาน ลดทอนสมมติฐาน และอนุมานผลลัพธ์ได้
28.สามารถประยุกต์ใช้วิธีการเดิมๆ มาใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆได้
29. บอกได้ว่าปัญหาคืออะไร
30.รู้จักคิดวิเคราะห์
31. สามารถจินตนาการ หรือคิดวิเคราะห์เป็นภาพได้
32. สามารถคิดหาวิธีแก้ปัญหาเองได้
33 -34. รู้จักคาดการณ์อนาคต ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
35. รู้จักประเมินสถานการณ์
36. รู้จักประเมินตนเอง
37. รู้จักยับยั้งชั่งใจ
38. รู้จักติดตามผลงาน
39. รู้จักสะท้อนเป้าหมายของตนเอง (ให้คนอื่นเข้าใจด้วย)
40. รู้จักจัดการความคิดที่ขัดแย้งกัน
.
.
EFภาค3ตอนที่5/100 EF กลุ่มที่ 2 เรียกว่า Engagement

เชิงอรรถEF3 5/100

ตอนที่6/100 ความสามารถในการเปลี่ยนมุมมอง perspective

ตอนที่7/100 ความสามารถในการจำแนก categorization

EFภาค3ตอนที่8/100 ความสามารถที่จะเชื่อมเหตุและผล causal effect

EFภาค3 ตอนที่9/100 เด็กๆจะหาข้อมูลที่ “เชื่อถือได้” ในเวลาที่รวดเร็วได้อย่างไร

EFภาค3ตอนที่10/100 เด็กก่อน 4-5 ขวบ อ่านและเล่นมากที่สุด

เชิงอรรถEF3 10/100

EFภาค3 ตอนที่11/100 แผนผังวงกลม 3 วง
เชิงอรรถEF3 11/100 การเปลี่ยนมุมมอง การจำแนก และการให้เหตุผล เป็นของสร้างได้ และมีวิธีสร้าง

EFภาค3ตอนที่12/100 EFกลุ่มที่ 2 คือการทำงานเป็นทีม (collaboration)
เชิงอรรถEF3 12/100 coordination การทำงานด้วยกัน
EFภาค3 ตอนที่13/100 ความสามารถที่จะให้เหตุผลไม่มาเอง ต้องฝึก เด็กอัลฟ่า ยิ่งต้องฝึก
เชิงอรรถEF3 13/109 เขียน – อ่านที่ตัวเองเขียน – พบว่าไม่เข้าท่า เป็นเรื่องสำคัญของการพัฒนา
EFภาค3 ตอนที่14/100 มติเป็นเอกฉันท์ (consensus)
เชิงอรรถEF3 14/100 หนังคลาสสิกเล่าเรื่องคณะลูกขุน 12 คนที่ต้องหามติเอกฉันท์ในการตัดสินคดีฆาตกรรมคดีหนึ่งให้ได้
EFภาค3 ตอนที่15/100 ชุดคำถามที่เด็กทุกคนควรได้รับการฝึกฝนให้เขียนตอบ
เชิงอรรถEF3 15/100 ตัวอย่างที่ดีของการทำงานเป็นทีม
EFภาค3 ตอนที่16/100 มิใช่เพื่อให้อ่านเก่ง แต่เพื่อควบคุมตนเองให้ทำได้ วัตถุประสงค์ไม่เหมือนกัน
เชิงอรรถEF3-16/100 ยิ่งช้า ยิ่งต้องให้ทำงาน อย่างช้าๆ มิใช่ลงไปแย่งเขาทำเสียหมด
EFภาค3 ตอนที่17/100 ระดมสมอง (brain storming)

เชิงอรรถ ตอนที่ 17-18/100

EFภาค3 ตอนที่18/100 สังเคราะห์ (synthesize)
EFภาค3 ตอนที่19/100 การทำงานเป็นทีมออนไลน์

เชิงอรรถ ตอนที่ 19-20/100

EFภาค3 ตอนที่20/100 Brain Storm Protocol ระเบียบปฏิบัติสำหรับการระดมสมอง

ตอนที่21/100 เด็กในบ้านที่มีแต่ความเครียด เด็กเหล่านี้จะมี EF ที่ไม่ดี
เชิงอรรถEF3-21/100 สามี-ภรรยาทะเลาะกัน
ตอนที่22/100 ความหวังสำหรับวัยรุ่นและผู้ใหญ่ที่ไม่มี EF
เชิงอรรถEF3-22/100 วิธีแก้ไข EF บกพร่อง 4 ขั้น
ตอนที่23/100 จัดการเวลา
เชิงอรรถ ตอนที่23/100 การเสริมพลังหรือ empower
ตอนที่24/100 ความคิดสร้างสรรค์.
เชิงอรรถEF3-24/100 ความคิดสร้างสรรค์มิใช่พรสวรรค์ และมิใช่ของที่จะสั่งให้เด็กๆมีได้
EFภาค3 ตอนที่25/100 คำตอบมิได้มี 1 เดียว หนทางไปสู่คำตอบ มิได้มีทางเดียว
เชิงอรรถEF-25/100 เด็กจับคู่ของสองสิ่งตั้งแต่แรกอยู่แล้ว คือช่วงอายุ 2-7 ขวบ

EFภาค3 ตอนที่26/100 อ่าน เล่น ทำงาน มากพอหรือยัง
เชิงอรรถEF3-26/100 อนาคตของเรา
EFภาค3 ตอนที่27/100 ไม่ลุ่มหลงว่ามันจะดีโดยไม่ทำอะไร แต่ก็ไม่หดหู่จนไม่คิดทำอะไรเลย
เชิงอรรถEF3-27/100
EFภาค3 ตอนที่ 28/100 “อนาคตมิได้มีไว้ทำนาย อนาคตมีไว้สร้าง”
เชิงอรรถEF3-29/100 วันนี้เด็กเกิดอย่างไร
เชิงอรรถEF3-28/100 มองโลกในแง่ดีตามที่เป็นจริงมาจากคำว่า Realistic Optimism
เราจะพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่29/100 Pepper
เราจะพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่ 30/100 Peppers
เชิงอรรถEF3-30/100 มนุษย์มีสิ่งที่เรียกว่าความคิดสร้างสรรค์ (creativity) ซึ่งเป็นคำที่ไร้นิยามและข้อจำกัด

เราควรพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่ 31/100 องค์ประกอบสำคัญของ EF คือคิดยืดหยุ่น (cognitive flexibility)
เราจะพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่ 32/100 แม่ที่มีอยู่จริงทวีความสำคัญสำหรับเด็กอัลฟ่ามากกว่าที่เคย
เราควรพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่ 33/100 หนึ่งในทักษะศตวรรษที่ 21 คือความรู้พื้นฐานด้านสุขภาพ (health literacy)
เราจะพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่ 34/100 อีกเรื่องหนึ่งที่สำคัญคือเรื่องบิ๊กดาต้า (Big Data)
เราจะพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่ 35/100 “ครอบครัวที่มีความสุขล้วนสุขเหมือนๆกัน แต่ครอบครัวที่มีทุกข์ ย่อมทุกข์ตามวิถีของตน”

เราจะพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่ 36/100 นี่ปี 2019 แล้ว ใครยังคิดว่าโลกเหมือนเดิม
เราจะพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่ 37/100 เขาควรมี EF มากเพียงใด
เราจะพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่ 38/100 Metacognition
เราจะพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่39/100 เส้นประสาท จุดเชื่อมต่อ การตัดแต่ง และสารมัยอิลิน ทั้ง 4 ประการนี้เกิดจาก “การปฏิสัมพันธ์” กับสรรพสิ่ง
เราจะพัฒนาเด็กอัลฟ่าอย่างไร ตอนที่ 40/100 ปัจจัยที่ทำให้ EF ไม่พัฒนาในเด็กๆ
EF ภาค 3 ตอนที่ 41/100 การประเมินค่า EF
EF ภาค 3 ตอนที่ 42/100 การประเมิน EF ของลูก เราดู 3 กระบวนการ 1.เริ่มต้นงาน 2.ทำได้นาน 3.ยับยั้งได้
EF ภาค 3 ตอนที่ 43/100 การประเมิน EF มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหรือแก้ไข
ตอนที่ 44/100 เวลาเราทำตารางกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาเด็กที่ทำอะไรก็ไม่ค่อยจะเสร็จ
 ตอนที่ 45/100 เพราะอะไร EF จึงเป็นเรื่องสำคัญมากยิ่งขึ้นสำหรับเด็กอัลฟ่า?
ตอนที่ 46/100 ปัญหาทางจิตวิทยาคือความหมายของชีวิตที่แปรเปลี่ยนตลอดเวลา

 ตอนที่ 47/100 แม้ว่า EF จะสำคัญ แต่ Empathy ก็สำคัญด้วย
ตอนที่ 48/100 มีเรื่องอะไรบ้างที่เราควรพูดกับเด็กๆ
ตอนที่ 49/100 เริ่มวันนี้ “ลูกอยากทำอะไร”
ตอนที่ 50/100 บุคคลที่พร้อมรับมือทุกสถานการณ์ นั่นคือ 1.สร้างเนื้อสมองที่ดี 2.ตัวตนที่ชัดเจน 3.และความสามารถ EF ที่ดีที่สุด

ตอนที่ 51/100 EF เริ่มแต่เกิด เข้มข้นที่ 4 ขวบ พัฒนาอย่างเร็วถึง 9 ขวบ ผ่านกระบวนการตัดแต่ง (pruning) สมองถึงอายุ 15 ปี และกว่าจะพัฒนาเต็มที่เมื่ออายุ 25 ปี
ตอนที่ 52/100 พูดกับตัวเอง (self talk)
ตอนที่ 53/100 การพูดกับตัวเอง (self talk)
ตอนที่ 54/100 ความพยายาม
ตอนที่ 55/100 ความพยายามทำเรื่องที่ไม่ถนัด
ตอนที่ 56/100 การศึกษาควรช่วยให้เด็กมีทักษะเรียนรู้
ตอนที่ 57/100 การคิดวิพากษ์เกิดจากการฝึกฝน
ตอนที่ 58/100 ประเด็นจึงมิใช่การอ่าน แต่อยู่ที่การกรอง สมองของลูกเรากรองได้ดีเพียงใด

ตอนที่ 59/100 มาออกแบบสมองกันเถอะ
ตอนที่ 60/100 ทักษะเรียนรู้สำคัญ แต่เอ็มพาธี่ย์สำคัญกว่า

ตอนที่ 61/100 จิ้งหรีดให้โปรตีนเป็น 12 เท่าของเนื้อวัว
ตอนที่ 62/100 แมลงได้ถูกใช้เพื่อเป็นอาหารสัตว์มากที่สุด
ตอนที่ 63/100 ใช้สมองส่วนหน้าคือ prefrontal cortex และ EF ในการกำหนดเป้าหมาย แล้วกล้าเลือก กล้าทำ กล้าต่อสู้ จนกว่าจะถึงเป้าหมาย
ตอนที่ 64/100 ที่เราอยากได้คือความเชื่อมโยง
ตอนที่ 65/100 Personalised Learning
ตอนที่ 66 การเล่นที่ดีที่สุดคือ free play การเล่นคือวิธีเรียนรู้
ตอนที่ 67/100 แท้จริงแล้วการเล่นคือการเรียน
ตอนที่68/100 พ่อแม่ที่ไม่อยากเปลี่ยนแปลง
ตอนที่ 69/100 สุดท้าย เราเลี้ยงลูกเพื่อให้เขาจากเราไป ไม่ใช่เพื่อมิให้ไปไหนได้ จะวาย แซด หรืออัลฟ่า ล้วนอยู่ใต้หลักการ 7 ข้อนี้
ตอนที่ 70/100 เด็กทุกสมัยเหมือนกัน

ตอนที่ 71/100 วัยรุ่นมีหน้าที่ค้นหาและสร้างอัตลักษณ์
ตอนที่ 72/100 สอนลูกให้ทำประโยชน์แก่คนอื่นแม้ในความจริงเสมือน
ตอนที่ 73/100 คำแนะนำข้อที่ 1 สร้างสมาร์ทโฟนครอบครัว 1 เครื่อง พ่อแม่-พี่น้องใช้ร่วมกันตามตารางเวลาที่กำหนด นี่คือช่วงฝึกหัด ทำได้เมื่อเขาอายุ 9-12 ปี เขาจะยังยินยอมเชื่อฟังกติกา
ตอนที่ 74/100 วัยทีนในโลกดิจิตอล ต้องการการฝึกปฏิบัติเช่นกัน
ตอนที่ 75/100 ปัญหาของทั้งผู้ล่า ผู้รุกราน ผู้กลั่นแกล้ง รวมทั้งเหยื่อที่เป็นเด็กคือทุกคนขาดทักษะการจัดการตนเองและการรับมือ

ตอนที่ 76/100 เลี้ยงลูกอัลฟ่าเพื่อให้เขาเป็นอย่างไร?
ตอนที่ 77/100 ถ้าไม่กล้าคุยเรื่องเพศคือไม่สามารถให้สมาร์ทโฟน
ตอนที่ 78/100 ยิ่งแสวงหายิ่งเปรียบเทียบยิ่งเสียหาย
ตอนที่ 79/100 หลัก 4 ประการ พาลูกเข้าสู่โซเชียลมีเดีย
ตอนที่ 80/100 พ่อแม่ควรเป็นแบบอย่างเรื่องการดูแลข้อมูลส่วนบุคคล

ตอนที่ 81/100 โซเชียลมีเดียสำคัญ เพียงแค่พวกเขาต้องมีอาวุธพร้อมมือก่อนจะเข้าไป
ตอนที่ 82/100 โดยสรุป โซเชียลมีเดียมิใช่สิ่งชั่วร้ายในตัวเอง ที่บกพร่องคือ EF
ตอนที่ 83/100 สอนให้ลูกรู้จักหยุดในโซเชียลมีเดีย
ตอนที่ 84/100 สอนลูกให้เข้าโซเชียลมีเดียอย่างแอ็คทิฟ (active) คือเราเป็นฝ่ายรุก เข้าไปใช้ประโยชน์ เสพข้อมูล และวิเคราะห์เสมอ
ตอนที่ 85/100 เอไอดูแลเรา ช่วยเหลือเรา เอาชนะเรา และอาจจะทิ้งเรา?
ตอนที่ 86/100 เราทำอะไรได้บ้าง 1.กำหนดเวลาและระยะเวลาที่เล่นได้ 2.ลงไปเล่นด้วย
ตอนที่ 87/100 Set Limit คำๆนี้แปลว่ากำหนดขอบเขต ความหมายคือขีดเส้นที่เด็กห้ามข้าม
ตอนที่ 88/100 delayed gratification หรือความสามารถในการรอคอยเพื่อสิ่งที่ดีกว่า
ตอนที่ 89/100 วัตถุประสงค์หนึ่งของการเลี้ยงลูกวันนี้คือให้เขาเป็นผู้เลือก และเลือกเป็น SELECT กลายเป็นคำสำคัญ
ตอนที่ 90/100 เลือก คือความสามารถที่เราอยากให้เด็กอัลฟ่ามี เพราะชีวิตของเขาเต็มไปด้วยการเลือก หรือถูกเลือกให้

ตอนที่ 91/100 เราไม่โมโห แต่เราไม่ให้ละเมิดกติกา
ตอนที่ 92/100 พลังอำนาจของโซเชียลมีเดีย
ตอนที่ 93/100 ถังความจุของความจำใช้งาน
ตอนที่ 94/100 ความจำใช้งานประกอบด้วย 4 ส่วน
ตอนที่ 95/100 เด็กคนหนึ่งจะวางแผนระยะสั้นได้ ไปจนถึงเลือกอนาคตได้ตั้งแต่อายุ 13-15 ขวบ โดยรู้ว่าตนเองหลงใหลอะไร (passion) และถนัดอะไร (competency) เหล่านี้เกิดจาก reconstitution

ตอนที่ 96/100 โดยสรุป พัฒนาการของเด็กอัลฟ่าต่างจากคนรุ่นอื่นอย่างไร
ตอนที่ 97/100 เมื่อเด็กอัลฟ่าเป็นเด็ก
ตอนที่ 98/100 เมื่อเป็นวัยรุ่น เด็กอัลฟ่าควรเลือกอนาคตเป็น
ตอนที่ 99/100 เมื่อเรียนจบ

ตอนที่ 100 จบ

คู่มือสำหรับพ่อแม่

คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก
จาก ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยและสมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
.
.
.
.
.