Month: มกราคม 2019

เลี้ยงลูกให้ได้ดี รอบที่6

#เลี้ยงลูกให้ได้ดี6 Update on 7/6/19

บทความโดย นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
.
ตอนที่1/100 ก่อนเกิด
ตอนที่2/100 องค์ประกอบทั้ง 8
ตอนที่ 3/100 ปัจจัยที่มีผลต่อพื้นฐานทางอารมณ์ของเด็ก
ตอนที่ 4/100 เปลี่ยนเขาจากเลี้ยงยากเป็นเลี้ยงง่าย
ตอนที่5/100 เมื่อพบเด็กเลี้ยงยาก

ตอนที่6/100 เรื่องที่ควรรู้ 3 เรื่อง
ตอนที่7/100 CRITICAL PERIOD

ตอนที่ 8/100 FUNCTION
ตอนที่ 9/100 ความรู้ 3 ข้อแรกเป็นพื้นฐานวิธีคิดเมื่อเราพบปัญหา

ตอนที่10/100 2 เรื่องที่คุณแม่คุณพ่อควรทราบ
ตอนที่11/100 ทารกขวบปีแรกมีหน้าที่ไว้วางใจโลก เราเรียกว่า trust
ตอนที่12/100 แม่เลี้ยงด้วยตัวเองมากที่สุดเป็นเรื่องดีที่สุด คนอื่นเป็นเพียงผู้ช่วย
ตอนที่13/100 แม่มีอยู่จริงเมื่อทารกอายุ 6 เดือน แม่จะเป็นต้นแบบของวัตถุอื่นที่มีอยู่จริงเมื่ออายุ 8 เดือน
ตอนที่14/100 วงจรประสาทก่อน EF ที่กำลังสร้างตัว คือ “หยุด-เปลี่ยน”

ตอนที่15/100 ระยะก่อน EF เรียกว่า proto-EF

ตอนที่16/100 สายสัมพันธ์ทำหน้าที่ดึงรั้งเด็กๆจนถึงวัยรุ่น มิให้กระทำอะไรเกินเลย
ตอนที่17/100 สายสัมพันธ์ช่วยดึงลูกให้อยู้ใกล้แม่ หรือพ่อ ตั้งแต่แรกเกิด
ตอนที่18/100 แม่-สายสัมพันธ์-ตัวตน นี่คือกระบวนการสร้างมนุษย์
ตอนที่19/100 ตัวตน(self)คืออะไร
ตอนที่20/100 แม่-สายสัมพันธ์-ตัวตน คือโครงสร้างของชีวิต

ตอนที่21/100 ช่วงชั้นที่ 2 อายุ 2-3 ขวบ
ตอนที่22/100 มีข้อแนะนำเป็นสากลว่าเราต้องห้าม 3 เรื่อง
ตอนที่23/100 เราจึงอาจจะต้องมีพื้นที่ที่ปล่อยเด็ก 2-3 ขวบเดินและวิ่ง ปีนป่ายและสำรวจไปได้ในรัศมีหลายสิบหลายร้อยเมตรโดยที่เราไม่ต้องออกปากห้ามเลย

ตอนที่24/100 เซลฟ์เอสตีม ความสามารถที่จะรู้ว่าตนเองทำอะไรได้บ้าง
ตอนที่ 25/100 พัฒนาการของกล้ามเนื้อใหญ่ (gross motor) ในวัย 2-3 ขวบนี้จะเป็นรากฐานของ EF
ตอนที่26/100 เรามาถึงช่วงชั้นที่3 initiation ริเริ่มสิ่งใหม่ อายุประมาณ 4-6 ปี

ตอนที่27/100 นิ้วมือเป็นสมองที่สอง
ตอนที่28/100 งานบ้านมิใช่เพื่อให้บ้านสะอาด แต่เพื่อให้เด็กได้ใช้นิ้วมือทั้ง 10 ทำงาน
ตอนที่29/100 การเล่นพื้นฐาน 10 ชนิด
ตอนที่30/100 7 ขวบแล้ว

.
ตอนที่31/100 ซิกมันด์ ฟรอยด์ เรียกขวบปีแรกว่า oral stage และขวบปีที่ 2 ว่า anal stage และช่วง 3-7 ขวบว่า preoperational stage
ตอนที่32/100 ขวบปีแรก
ตอนที่33/100 juxtaposition
ตอนที่34/100 เด็กเห็นตนเองเป็นศูนย์กลาง
ตอนที่35/100 ระยะขวบปีที่ 2
ตอนที่36/100 animism เด็กเล็กคิดว่าอะไรที่เคลื่อนไหวได้มีชีวิต
ตอนที่37/100 magical thinking
ตอนที่38/100 Phenomenalistic Causalty
ตอนที่ 39/100 ลูกจะแยกจากแม่ 3 ครั้ง
ตอนที่ 40/100 กระบวนการแยกตัวเป็นบุคคลอิสระ
.
ตอนที่41/100 เด็กก่อน8เดือน
ตอนที่42/100 เด็กเล็กมีมิติเดียว ทั้งสถานที่และเวลา (1-Dimension)
ตอนที่43/100 การจัดวางและการเคลื่อนย้าย (placement & displacement)
ตอนที่44/100 อวกาศและเวลา (space& time)
ตอนที่45/100 เตรียมความพร้อม
ตอนที่46/100 conservation
ตอนที่47/100 ก่อน 6-7 ขวบ
ตอนที่48/100 symbolization
ตอนที่ 49/100 decentration
ตอนที่ 50/100 conservation
.
ตอนที่ 51/100 ความสามารถในการรู้ว่าวัตถุแปรเปลี่ยนไปมาได้ (reversible)
ตอนที่ 52/100 การแบ่งกลุ่มและจัดเรียงลำดับ
ตอนที่53/100 hierachial classification
ตอนที่54/100 seriation
ตอนที่55/100 จาก 1 และ 2 มิติ ในที่สุดโลกมี 3 มิติ
ตอนที่ 56/100 เด็กเล็กจะบอกว่าสิงห์ใหญ่กว่าพระ
ตอนที่ 57/100 “แม่ที่มีอยู่จริง”
ตอนที่ 58/100 “ภาษา” ไม่เกิดขึ้นเองโดดๆ แต่เกิดขึ้นบนกระบวนการที่ต่อเนื่องจาก “วัตถุมีจริง”
ตอนที่59/100 การพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นขั้นเป็นตอน
ตอนที่60/100 สำคัญที่สุดคือข้อมูลที่ว่าด้วยสิ่งที่เรียกว่า “ตนเอง” คืออัตตา
.
ตอนที่61/100 ปรับพฤติกรรม
ตอนที่62/100 การให้รางวัล (reward)
ตอนที่63/100 หลักการให้รางวัลมีง่ายๆว่าให้ทันที แล้วบอกชัดๆว่าเราชอบอะไร
ตอนที่64/100 การให้รางวัลหรือคำชมเชย ควรให้ที่การกระทำมากกว่าที่ผลลัพธ์
ตอนที่65/100 ทำตัวให้ว่าง คือเคล็ดลับของการให้รางวัล
ตอนที่ 66/100 การให้รางวัลเป็นส่วนหนึ่งของการวางเงื่อนไข
ตอนที่67/100 การตั้งของรางวัลล่วงหน้า
ตอนที่68/100 หลักการปรับพฤติกรรมอย่างง่ายๆคือชมให้มากกว่าติในแต่ละวัน
ตอนที่69/100 พ้นจากการให้รางวัลคือการเพิกเฉย(ignore)
ตอนที่70/100 การทำโทษ
.
ตอนที่71/100 เด็กวัยนี้จะมีหน้าที่ทางจิตวิทยา 3 ขั้นตอน
ตอนที่72/100 แล้วเราก็มาถึงวัยรุ่น
ตอนที่73/100 หน้าที่ของวัยรุ่นข้อที่1 คือค้นหาอัตลักษณ์ (Identity)
ตอนที่74/100 เพื่อนของลูกมีหลากหลายเพศ
ตอนที่75/100 หน้าที่อีกข้อของวัยรุ่นคือไปหาเพื่อน
ตอนที่76/100 สมองส่วนหน้าที่ดี
ตอนที่77/100 วัยรุ่นมักพลุ่งพล่าน และกระทำการใดสุดฝีมือ
ตอนที่78/100 พัฒนาการด้านจริยธรรม
ตอนที่79/100 บันได 7 ขั้นสู่ศตวรรษที่ 21
ตอนที่80/100 งานที่ควรทำแบ่งออกเป็น 4 พื้นที่
.
ตอนที่81/100 EFคืออะไร?
ตอนที่82/100 EF ประกอบด้วยอะไรบ้าง?
ตอนที่83/100 การควบคุมตนเองประกอบด้วยอะไรบ้าง?
ตอนที่84/100 ความสามารถที่จะประวิงความสุขทำได้ 2 ทิศทาง
ตอนที่85/100 การควบคุมตนเอง
ตอนที่86/100 ความจำใช้งาน (working memory)
ตอนที่87/10 องค์ประกอบส่วนที่ 3 ขอบ EF คือคิดยืดหยุ่น (cognitive flexibility)
ตอนที่88/100 คิดยืดหยุ่น cognitive flexibility
ตอนที่89/100 ทำไมเราควรรู้เรื่อง EF? เพราะ EF มีเวลาวิกฤต
ตอนที่90/100 ทำไมเราควรรู้เรื่อง EF
.

ตอนที่ 91/100 Emotional Intelligence
ตอนที่ 92/100 อันที่จริงเราไม่แน่ใจเท่าไรนักว่าเด็กมีความสามารถล่วงรู้อารมณ์ตนเองเมื่อไรแน่
ตอนที่ 93/100 วัยรุ่นคืออายุ 12-18ปี
ตอนที่ 94/100 วัยรุ่นเปรียบเหมือนการเกิดใหม่อีกครั้งหนึ่ง
ตอนที่ 95/100 เมื่อเด็กเป็นวัยรุ่น เขาเกิดใหม่อีกครั้ง

ตอนที่ 96/100 เด็กมีพื้นฐานอารมณ์ต่างกัน ขวบปีแรก-18 ขวบ

ตอนที่ 97/100 พ้นจากวัยรุ่นคือผู้ใหญ่ หรือ adult
ตอนที่ 98/100 หน้าที่ทางจิตวิทยาของวัยผู้ใหญ่ตอนปลาย
ตอนที่99/100 วัยชรา
ตอนที่100/100 บทส่งท้าย

วัยรุ่น 4.0

#teen Update 31/5/19

บทความโดย นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
.
ตอนที่ 1 วัยรุ่นไม่มีจริง
ตอนที่2 เราทำคน -infantilize ที่ควรเป็นผู้ใหญ่ได้แล้วให้กลายเป็นวัยรุ่นด้วยมือของเราเอง
ตอนที่3 เราประเมินลูกของพวกเราต่ำไปหรือเปล่า?
ตอนที่4 เราห้ามลูกมากเท่านี้หรือเปล่า และแท้จริงแล้ว คิดว่าเขาฟังกี่ข้อ
ตอนที่5 สำหรับวัยรุ่น 12-18 ปี เราควรมีกฎกี่ข้อ
ตอนที่6 วันหนึ่งๆ มีอะไรบ้างที่พวกเขาทำแล้วรู้สึกว่ามัน “สำคัญ”

ตอนที่7 วัยรุ่นถูกสร้างขึ้นในยุคอุตสาหกรรม
ตอนที่8 เมื่อเด็กทำงานเคียงข้างผู้ใหญ่ตั้งแต่แรก
ตอนที่9 เราเองที่ไม่ให้เด็กทำอะไร
ตอนที่10 เผ่าพันธุ์วัยรุ่น
ตอนที่11 TRUST ความไว้ใจ
ตอนที่ 12 หน้าที่ข้อที่ 1 สร้างอัตลักษณ์ (identity)
ตอนที่13 วัยรุ่นเหมือนผีเสื้อ ผีเสื้อมิใช่หนอน

ตอนที่14 หน้าที่ข้อที่ 2 ของวัยรุ่นคือสัมพันธ์คนรัก
ตอนที่ 15 วัยรุ่นเป็นวัยแสวงหาอัตลักษณ์ และเริ่มต้นสนใจเพศอื่น

ตอนที่ 16 หน้าที่ข้อที่ 3 คือสังกัดกลุ่มเพื่อน
ตอนที่17 เขาต้องการให้เรา stand by me เราจะทำหรือไม่?
ตอนที่18 ความกังวลข้อที่4 ของวัยรุ่นคืออนาคต
ตอนที่19 เลี้ยงเขาให้มีความสามารถที่จะขีดเส้นเอง แล้วไปเอง คือวัยรุ่นสมัยใหม่วันนี้
ตอนที่20 ความกังวลใจในหน้าที่

ตอนที่21 วิธีแก้ปัญหาที่เป็นที่ยอมรับกันคือคืนความรับผิดชอบให้แก่เขา “มากที่สุดเท่าที่จะทำได้”
ตอนที่22 การคืนความรับผิดชอบต่อชีวิตให้แก่วัยรุ่นคือวิธีแก้ปัญหาที่เหมาะสม

ตอนที่ 23 เขาพูดถึงวัยรุ่นแค่ว่า “สิ้นสุดวัยเด็ก” “พรากจากพ่อแม่” และ “เป็นส่วนหนึ่งของสังคม”
ตอนที่24 “เป็นเรื่องไม่ปกติที่วัยรุ่นคนหนึ่งจะปกติ”
ตอนที่25 ความขัดแย้งกับพ่อแม่ของวัยรุ่น

ตอนที่ 26 วัยรุ่นต่างจากวัยผู้ใหญ่ตรงไหน
ตอนที่27 วัยรุ่นมีความคิดอ่านดีกว่าผู้ใหญ่
ตอนที่28 วัยรุ่นเริ่มมีความคิดเชิงนามธรรม (formal operation) หลังอายุ 12 ปี
ตอนที่29 คนเราฉลาดที่สุดเมื่ออายุเท่าไร
ตอนที่30 ทำไมวัยรุ่นวันนี้ดูไม่ค่อยจะได้เรื่องเท่าใดนัก

ตอนที่ 31 วัยรุ่นมีพลังมากมาย รวมทั้งความฉลาด
ตอนที่32 หากวัยรุ่นมีความฉลาดมากกว่าวัยอื่นจริง ทำไมถึงช่างตัดสินใจได้แย่นัก
ตอนที่33 วัยรุ่นและความรับผิดชอบ
ตอนที่34 ความรับผิดชอบคืออะไร?
ตอนที่35 ความรับผิดรับชอบ (accountability)

ตอนที่36 คืนความรับผิดชอบให้แก่วัยรุ่น
ตอนที่37 ความเป็นไปได้ที่จะเรียกคืนความรับผิดชอบของวัยรุ่น
ตอนที่38 เมื่อการศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญ
ตอนที่39 งานอาสาสมัครเป็นงานที่มีประโยชน์มากสำหรับวัยรุ่น
ตอนที่40 จบ จะเป็นวัยรุ่น 2.0 หรือ 4.0 พัฒนาการเหมือนกัน คือแสวงหาอัตลักษณ์